-
การตรวจสอบและการทบทวนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและความยุติธรรมในการพัฒนา
ในช่วงห้าทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบความสำเร็จอย่างมากในการพัฒนาเศรษฐกิจ ยกระดับประเทศจากประเทศที่มีรายได้น้อยไปสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้านี้ ต้องแลกมาด้วยการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตของประเทศจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมการเติบโตที่เน้นการส่งออก การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในอุตสาหกรรมพื้นฐาน เช่น รถยนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า กลายเป็นแหล่งรายได้สำคัญของประเทศ รายได้ต่อหัวของประชากรเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราการจ้างงานที่สูงขึ้น ในขณะที่จำนวนคนยากจนและประชากรที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความยากจนลดลงในช่วงเจ็ดปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ก็ยังพบความแตกต่างของรายได้อย่างชัดเจน
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ | ค่า |
---|---|
ปรับปรุงครั้งล่าสุด | 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 |
สร้างแล้ว | ไม่ทราบ |
รูปแบบ | |
ใบอนุญาต | CC-BY-3.0-IGO |
ชื่อ | การตรวจสอบและการทบทวนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและความยุติธรรมในการพัฒนา |
คำอธิบาย |
ในช่วงห้าทศวรรษที่ผ่านมา ประเทศไทยประสบความสำเร็จอย่างมากในการพัฒนาเศรษฐกิจ ยกระดับประเทศจากประเทศที่มีรายได้น้อยไปสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ตาม ความก้าวหน้านี้ ต้องแลกมาด้วยการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตของประเทศจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมการเติบโตที่เน้นการส่งออก การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในอุตสาหกรรมพื้นฐาน เช่น รถยนต์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า กลายเป็นแหล่งรายได้สำคัญของประเทศ รายได้ต่อหัวของประชากรเพิ่มขึ้น เนื่องจากอัตราการจ้างงานที่สูงขึ้น ในขณะที่จำนวนคนยากจนและประชากรที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณฑ์ความยากจนลดลงในช่วงเจ็ดปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ตาม ก็ยังพบความแตกต่างของรายได้อย่างชัดเจน |
ภาษาของเอกสาร |
|