Skip to content

กระบวนการยุติธรรมทางอาญาต่อการเกิดอาชญากรรมสัตว์ป่าในประเทศไทย:การประเมินอย่างรวดเร็ว

พิมพ์โดย: Open Development Thailand

ประเทศไทยเป็นประเทศที่อุดมไปด้วยความหลากหลายทางชีวภาพและเป็นที่อยู่ของพืชและสัตว์ที่มีเอกลักษณ์และหายาก ได้แก่ เสือโคร่งและช้างเอเชีย ในประเทศไทยซึ่งเหมือนกับที่อื่น ๆที่มีการต่อสู้อย่างต่อเนื่องระหว่างการอนุรักษ์และการพัฒนา การสูญเสียที่อยู่อาศัย การรุกล้ำและการค้าสัตว์ป่า ความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับสัตว์ป่าและการใช้สัตว์ป่าในบ้านเรือนได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อพืชและสัตว์หลายชนิดของไทยรวมถึงสัตว์และพืชที่ได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยสัตว์ป่าและพืชพรรณที่ใกล้สูญพันธุ์ ซึ่งประกอบด้วยพันธุ์ไม้ที่มีมูลค่าสูง เช่น พะยูง ที่เรียกกันทั่วไปว่าไม้พยูง (ภาคผนวกที่ 2) และสัตว์ป่าชนิดต่างๆ ได้แก่ เสืออินโดจีนและมลายู (ภาคผนวก I) เสือดาว (ภาคผนวก I) เสือลายเมฆ (ภาคผนวก I) ช้าง ( ภาคผนวก I) หมีหมา (ภาคผนวก I) และลิ่นซุนดา (ภาคผนวก I)

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของระบบยุติธรรมทางอาญาในการรับมือกับอาชญากรรมจากสัตว์ป่าโดย เนื่องจากประเทศไทยมีบทบาทเป็นแหล่ง การขนผ่านและจุดหมายปลายทางสำหรับพืชและสัตว์ที่ได้รับการป้องกันโดยอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยสัตว์ป่าและพืชพรรณที่ใกล้สูญพันธุ์ การวิจัยครั้งนี้ได้จากการเยี่ยมชมภาคสนามในประเทศไทย การทบทวนข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่และการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้เสียหลักจากหน่วยงานของรัฐ การสัมภาษณ์ส่วนใหญ่ดำเนินการกับผู้มีบทบาทสำคัญในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เช่น อัยการ ตำรวจ เจ้าหน้าที่ศุลกากรและเจ้าหน้าที่ด้านสิ่งแวดล้อม /ป่าไม้ซึ่งเกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมาย ในกรณีที่ทำได้มีการสัมภาษณ์ระดับอธิบดีหรือหรือรองอธิบดี

ทรัพยากรข้อมูล (1)

ตัวอย่างทรัพยากรข้อมูล - กระบวนการยุติธรรมทางอาญาต่อการเกิดอาชญากรรมสัตว์ป่าในประเทศไทย:การประเมินอย่างรวดเร็ว

ข้อมูลเพิ่มเติม

ฟิลด์ ค่า
ประเภทเอกสาร Reports, journal articles, and research papers (including theses and dissertations)
ภาษาของเอกสาร
  • ภาษาอังกฤษ
หัวข้อเรื่อง
  • Environment and natural resources
  • Environmental and biodiversity protection
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ (ช่วงข้อมูล)
  • ไทย
ลิขสิทธิ์ Yes
ข้อจำกัดการเข้าถึงและการใช้งาน

Copyright © United Nations Office on Drugs and Crime, June 2017. Please ensure correct attribution to the UNODC.

เวอร์ชั่น / รุ่น 1
ใบอนุญาต unspecified
ข้อมูลติดต่อ

United Nations Office on Drugs and Crime Regional Office for Southeast Asia and the Pacific United Nations Building, 3rd floor, Rajadamnern Nok Avenue, Bangkok 10200, Thailand Tel. (66-2) 288-2100 Fax. (66-2) 281-2129 http://www.unodc.org/southeastasiaandpacific

ผู้แต่งร่วม (หน่วยงาน) UnUnited Nations Office on Drugs and Crimeited Nations Office on Drugs and Crime
สถานที่พิมพ์ Bangkok, Thailand
สำนักพิมพ์ United Nations Office on Drugs and Crime
วันที่พิมพ์ 2017
จำนวนหน้า 51
คำสำคัญ Habitat loss,poaching and trafficking,human-wildlife conflict
วันที่อัพโหลด กรกฎาคม 9, 2018, 11:35 (UTC)
แก้ไขเมื่อ กันยายน 12, 2018, 08:54 (UTC)