-
การจัดทำแผนที่การกระจายตัวของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
บทความนี้นำเสนอผลการทำแผนที่การเจริญเติบโตของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยโดยใช้ข้อมูล Landsat 5 TM โดยใช้วิธี Mahalanobis ซึ่งโดยปกติใช้เพื่อระบุอายุยางพาราที่แตกต่างกัน การศึกษาได้ใช้แผนที่ Landsat 5 TM 30 m แถบสะท้อนแสงที่ไม่ใช่ความร้อน ดัชนีพืชพรรณ และองค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงของแถบภาพถ่ายให้เป็นตัวชี้วัดนำเข้าของแบบจำลอง การตรวจสอบความถูกต้องได้ดำเนินการโดยใช้ข้อมูลทางสถิติการเกษตรของจังหวัดในพื้นที่ปลูกยางพารา ผู้เขียนได้สรุปว่าในระดับภูมิภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย) และระดับจังหวัดมีการประมาณการอายุที่โตเต็มที่และอายุระดับปานกลางของต้นยางพาราจากข้อมูล Landsat 5 TM 30 m เปรียบเทียบได้ดีกับข้อมูลสถิติการเติบโตของยางพาราของระดับจังหวัด
ข้อมูลเพิ่มเติม
ฟิลด์ | ค่า |
---|---|
ปรับปรุงครั้งล่าสุด | ไม่ทราบ |
สร้างแล้ว | ไม่ทราบ |
รูปแบบ | |
ใบอนุญาต | CC-BY-4.0 |
ชื่อ | การจัดทำแผนที่การกระจายตัวของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย |
คำอธิบาย |
บทความนี้นำเสนอผลการทำแผนที่การเจริญเติบโตของต้นยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยโดยใช้ข้อมูล Landsat 5 TM โดยใช้วิธี Mahalanobis ซึ่งโดยปกติใช้เพื่อระบุอายุยางพาราที่แตกต่างกัน การศึกษาได้ใช้แผนที่ Landsat 5 TM 30 m แถบสะท้อนแสงที่ไม่ใช่ความร้อน ดัชนีพืชพรรณ และองค์ประกอบการเปลี่ยนแปลงของแถบภาพถ่ายให้เป็นตัวชี้วัดนำเข้าของแบบจำลอง การตรวจสอบความถูกต้องได้ดำเนินการโดยใช้ข้อมูลทางสถิติการเกษตรของจังหวัดในพื้นที่ปลูกยางพารา ผู้เขียนได้สรุปว่าในระดับภูมิภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย) และระดับจังหวัดมีการประมาณการอายุที่โตเต็มที่และอายุระดับปานกลางของต้นยางพาราจากข้อมูล Landsat 5 TM 30 m เปรียบเทียบได้ดีกับข้อมูลสถิติการเติบโตของยางพาราของระดับจังหวัด |
ภาษาของเอกสาร |